วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดาร60ห้องB


สมาชิกในห้องเรียน

    อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค                       อาจารย์ปาล์ม

1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร                   ไฟท์

2. นายจรณะ  แท่งทอง                             เปา

3. นางสาวเฉลิมพร  ศรีมณี                       เจล

4. นายชาติศิริ รัตนชู                                 ติ๊บ

5. นายชินวัฒร์ เพ็ชรโสม                           แมน

6.  นายณฐกร ชัยปาน                               โจ

7. นายณัฐกร สงสม                                 จ๊อบ

8. นายณัฐพล วงศ์สุขมนตรี                       เกมส์

9. นางสาวทัศนีย์วรรณ กาญจโนภาส            ษา
   10. นายธัณวัตร์ แก้วบุษบา                        ธัน

11. นายนราธร จันทรจิตร                            เนม
    12. นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงค์                 แอม

13. นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ          อ้าย

14. นางสาวปัถยา บุญชูดำ                      ปัด

15.นายพศวัต บุญแท่น                          อ๊อฟ

16. นางสาวแพรพลอย พรหมประวัติ          แพร

17. นายไฟซ้อล ประชานิยม                    ซ้อล

18.  นายภูมิภัทร์ สรรนุ่ม                         อ้วน

19.  นายยศกร บัวดำ                             ทาย

20. นางสาวรัฐชา วงศ์สุวรรณ                   เบญ

21. นายเรืองศักดิ์ ใหม่แก้ว                      เอ็ม

22. นางสาววลีพร ลิขิตธีระกุล                  นุ๊ก

23. นายวาทิศ อินทร์ปราบ                      เบนซ์

24.  นางสาววิภารัตน์ ดำสุข                    ออม

25. นางสาวศศิธร ชูปาน                         จูน

26. นายศุภกิจ ติเสส                              ดุก

27. นายเศรษฐชัย ฐินะกุล                       ตาล

28. นายสราวุธ จันทร์แก้ว                        ฟีล์ม

29.  นายสุชาครีย์ งามศรีตระกูล                เบนซ์

30.  นายสุริยา หวันสะเม๊าะ                      ดิ่ง

31. นายอนันต์ อาแว                              นัง

32. นายอนุวัช นุ่นเอียด                          กอล์ฟ

33.  นายอภิชัย เสวาริท                          บอล

34. นางสาวอรอุมา หมากปาน                  ญาญ่า


วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบ AS/RS



ความหมายของ AS/RS
          ระบบการจัดเก็บสินค้าและเรียกคืนสินค้าอัตโนมัติ Automated Storage/Retrieval System (AS/RS)
คือ ระบบบริหาร การจัดเก็บสินค้า เก็บวัตถุอัตโนมัติ เหมาะกับบริษัทที่ต้องการลดการใช้งานพื้นที่ หรือต้องการ
เพิ่ม ปริมาณในการจัดเก็บมากขึ้น เช่น คลังสินค้า, โกดังสินค้า, อาคารจอดรถอัตโนมัต, ห้องเก็บสมุดอัตโนมัติ 
เป็นต้น 

          ระบบ ASRS จะมีการทำงานควบคู่อัตโนมัติอย่างเป็นระบบ อยู่ 2 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ใช้เทคโนโลยีโรบอทอัตโนมัติ กับซอร์ฟแวร์ที่ สามารถพัฒนา นำไปใช้ได้กับทุกพื้นที่

ประโยชน์ของ AS/
          ลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า, ลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้า, เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้า, เพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้า, ทำงานรวดเร็ว แม่นยำ, บริหารทรัพยากรบุคคล, ประหยัดพลังงานไฟฟ้า

ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
- Unit Load AS/RS
- Miniload AS/RS
- Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
- Automated Item Retrieval System
- Deep-Lane AS/RS

 
  องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS
1.      โครงสร้างที่เก็บวัสดุ (Storage Structure)
2.      เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine)
3.      หน่วยของการเก็บวัสดุ (Storage Module)
4.      สถานีหยิบและฝากวัสดุ (Pickup and Deposit Station)
อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS
1.      รถเคลื่อนย้ายช่องทางขนส่งวัสดุ (Aisle Transfer Car)
2.      อุปกรณ์ตรวจสอบถังบรรจุวัสดุว่างเปล่า/เต็ม
3.      สถานีวัดขนาดโหลด (Sizing Station)
4.      สถานีบ่งชี้โหลด (Load Identification Station)
 
การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.      จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load
2.      หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3.      ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ

การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1.      ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2.      สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3.      ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4.      สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5.      ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6.      สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน


วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

1. หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม


2. หุ่นยนต์เก็บกู้ระเบิด




3. หุ่นยนต์ที่เลียนแบบมนุษย์

วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

เครื่องจักร NC

เครื่องจักร NC

ความหมายของ NC

           NC ย่อมาจาก Numerical Control หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่.
ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ CNC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC  ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว.
ลักษณะงานที่เหมาะกับเครื่องจักรกลNC
ชิ้นงานต้องการความเที่ยงตรงสูง
มีความซับซ้อน
มีการดำเนินงานหลายอย่างบนชิ้นงาน
การเปลี่ยนแปลงแบบมีบ่อยครั้ง
ชนิดของNCแกนหลักอยู่แนวนอน ชิ้นงานหมุน
– Turning Machine ,Lathe เครื่องกลึง
แกนหลักอยู่แนวตั้งฉากกับพื้น ใบมีดหมุน
– Milling Machine



ข้อดี
1. มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูง การเปลี่ยนงานใหม่จะแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเฉพาะโปรแกรมเท่านั้น
2. ความเที่ยงตรง (Accuracy) จะอยู่ระดับเดียวกันตลอดช่วงความเร็วรอบและอัตราป้อนที่ใช้ทำการผลิต
3. ใช้เวลาในการผลิต (Production Time) สั้นกว่า
       ข้อเสีย
1. ราคาเครื่องจักรมีราคาค่อนข้างสูง
2. การบำรุงรักษามีความซับซ้อนมาก
3. จำเป็นต้องใช้ช่างเขียนโปรแกรม (Part programmer) ที่มีทักษะสูงและฝึกอบรมมาโดยเฉพาะ

เครื่องจักร CNC
          เครื่อง CNC (Computer Numerical Control) คือ เครื่องจักรกลแบบอัตโนมัติที่มีการทำงานด้วยระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยตัวเครื่องจะทำงานตามแบบที่เราได้จัดใส่โปรแกรมการทำงานเข้าไป และสามารถใช้ได้หลายภาษา ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เครื่องจักรชนิดนี้กับงานโลหะที่ต้องการความละเอียดและแม่นยำ หรือมีความซับซ้อนสูง โดยมีจุดประสงค์ในสร้างเครื่อง CNC ขึ้นมาเพื่อให้สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติในแบบรวดเร็ว แม่นยำ และสามารถทำงานในแบบที่ซับซ้อนได้ดี ด้วยระบบมอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการควบคุมมุมต่างๆ ได้อย่างละเอียด ทำให้ชิ้นงานออกมาดี
ลักษณะงาน
 Adaptable วัตถุกระบวนการ พอดีกับแม่พิมพ์ลักษณะของผลิตภัณฑ์เช่นการผลิตชิ้นส่วน ให้เหมาะสมกับแม่พิมพ์การผลิต และการประมวลผลวิธีเครื่องจักรความแม่นยำและมีความเสถียรในการใช้เครื่องจักรคุณภาพสูง
สามารถจะเชื่อมโยงแบบหลายแกน สามารถดำเนินการส่วนมีรูปร่างซับซ้อนการเปลี่ยนแปลง
Parts โดยทั่วไปเพียงต้องการเปลี่ยนโปรแกรมสามารถบันทึกเวลาเตรียมผลิต
 ความแม่นยำสูง ความแข็งแกร่งสูงของเครื่องตัวเอง คุณสามารถเลือกประมวลผลดี ผลผลิตสูง (ปกติ 35 ครั้งที่เครื่องมือเครื่องจักรทั่วไป);
ระดับสูงของระบบอัตโนมัติของเครื่องมือ คุณสามารถลดความเข้มของแรงงาน
Modernization การจัดการการผลิตของเครื่องมือเครื่อง NC ด้วยรหัสมาตรฐาน ส่งข้อมูล การประมวลผลข้อมูลดิจิตอลคอมพิวเตอร์ควบคุมวิธีใช้ วางรากฐานสำหรับการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วย การผลิต และการรวมของการบริหารจัดการต้องการ
Higher สำหรับผู้ประกอบการ พนักงานบำรุงรักษาสูงกว่าข้อกำหนดทางเทคนิค



        ข้อดี
1. มีความแม่นยำสูง
 ลดเวลาที่ต้องสูญเสียโดยไร้ประโยชน์
3. ลดเวลานำ
ข้อเสีย
  1. ราคาเครื่องจักรมีราคาค่อนข้างสูง
  2. การบำรุงรักษามีความซับซ้อนมา 
  3.  จำเป็นต้องใช้ช่างเขียนโปรแกรม 

เครื่องจักร DNC
          istribution Numerical Control: DNC SYSTEM คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเวลาเดียวกัน
ลักษณะการใช้งาน
 1. การเรียกโปรแกรม NC Data ที่ต้องการ โดยรับส่งโดยตรงระหว่างเครื่องจักรกลระบบ CNC กับคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ (SUB Program Calling) โดยการเรียกโดยตรงที่หน้าเครื่องจักรกลระบบ CNC
  2. การให้บริการกระจายข้อมูลโปรแกรม NC Data ในแบบเครื่องข่ายโดยมี Server เป็นศูนย์กลางการติดต่อรับส่งข้อมูลโปรแกรม NC Data กับเครื่องจักรกลระบบ CNC ทุกเครื่องในเครือข่าย โดยมีสถานี Client Station ซึ่งเป็นสถานี Generate (สร้าง) หรือ INPUT หรือ EDIT ข้อมูลโปรแกรม NC Data เพื่อส่งเข้าสู่ Server กลางได้ (Client – Server Configuration System)
 3. การเริ่มกัดงานใหม่ต่อจากการกัดที่หยุดค้างไว้เดิม (Start Cutting from any program line) กรณีที่มีการหยุดกัดงานกลางคัน เช่น Tool สึกหรือ Tool แตก จำเป็นต้องหยุดค้างโปรแกรมไว้เพื่อเปลี่ยน Tool ใหม่ จากนั้น Software SUPER-DNC สามารถส่งต่อข้อมูลโปรแกรม NC Data ในบรรทัดต่อไปได้ โดยไม่ต้องเริ่มงานใหม่ทั้งหมด




วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีการสื่อสาร

เรื่อง : การสื่อสารทางแสงแบบไร้สาย (Free Space Optics (FSO)



         Free Space Optical Networking หรือ FSO เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารทางแสงแบบไร้สาย ที่จะทำการส่งและรับข้อมูลอัตราเร็วสูง ผ่านทางสัญญาณแสงโดยใช้ที่ว่างในอากาศเป็นตัวกลาง การเชื่อมโยงในอากาศจะคล้ายกับระบบสื่อสารทางเส้นใยนำแสง(fiber) เพียงแต่แทนที่จะโฟกัสลำแสงที่ออกมาจาก semiconductor laser (light amplification by stimulated emission of radiation) หรือ LED (light emitting diode) เข้าไปยังเส้นใยนำแสง ก็จะทำการส่งลำแสงเล็กๆ นี้ ผ่านอากาศไปยังเครื่องรับที่อยู่อีกด้านหนึ่งแทน ที่น่าสนใจก็คือ คลื่นแสงจะเดินทางในอากาศได้เร็วกว่าในแก้ว ดังนั้นจึงอาจจัดประเภทของ FSO ว่าเป็นการสื่อสารทางแสงด้วยอัตราเร็วแสงอย่างแท้จริง อุปกรณ์ FSO นี้จะใช้คลื่นแสงที่อยู่ในช่วงความยาวคลื่นระหว่าง 780-900 nm และ 1500-1600 nm ผู้ขาย FSO ส่วนใหญ่จะไม่ใช้ช่วงความยาวคลื่น 1300 nm เหมือนอย่างในเส้นใยนำแสง เป็นเพราะว่าคลื่นแสงในช่วงนี้เมื่อผ่านอากาศจะมีคุณภาพที่ต่ำกว่ามาก การเชื่อมโยงของ FSO นั้น จะใช้อุปกรณ์รับส่งสัญญาณ(transceiver) 2 ตัว ที่เล็งลำแสงของบีมเลเซอร์เข้าหากัน การสื่อสารนั้นจะมีลักษณะเป็นแบบ full duplex คือมีแบนด์วิดท์ของการส่งและการรับเท่ากัน ใน 2 ทิศทาง

ข้อดี
1. ช่วงการส่งสัญญาณกว้าง
2. ไม่มีการเหนี่ยวนำจากเคลื่อนแม่เหล็ก
3. อัตราการสูญเสียในการรับ - ส่งสัญญาณ
4. เพิ่มระยะห่างของสถานีทวนสัญญาณ
5. จำนวนของสัญญาณในการรับ - ส่ง

ข้อเสีย
1. เส้นใยแก้วนำแสงเปราะบางและแตกง่าย
2. ไม่สามารถโค้งงอเหมือนสายทองแดง
3. ในการติดตั้งต้องใช้เครื่องมือพิเศษ

ผลกระทบ
ต่อระบบเชื่อมโยง FSO          ระบบ FSO แตกต่างจากระบบสื่อสัญญาณทาง fiber ตรงที่ตัวกลางที่ใช้สำหรับการส่งสัญญาณ ถ้าเป็น FSO จะต้องส่งผ่านอากาศเปิดภายนอก ทำให้อาจได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิศาสตร์ที่เกิดขึ้นภายนอกได้ ดังนั้นเครือข่ายต้องถูกออกแบบให้สามารถต้านทานต่อสิ่งรบกวนที่เกิดขึ้นเหล่านี้ และเนื่องจากระบบ FSO เป็นเทคโนโลยีแบบ line-of-sight ดังนั้นการเชื่อมโยงจะต้องถูกออกแบบไม่ให้มีอะไรมากีดขวางหรือขัดจังหวะบีมของลำแสง

วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

วิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 ระบบประมวลผล
บทที่ 5 เครื่องจักรกล NC
บทที่ 6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
บทที่ 7 ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 9 PLC / PC
บทที่ 10 คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-นามสกุล นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงค์
ชื่อเล่น แอม
รหัสนักศึกษา 606705059
อายุ 21 ปี
วัน เดือน ปีเกิด 28 กุมภาพันธ์ 2539
ที่อยู่ 6/15 ม.5 ต.เขามีเกียรติ อ.สะเดา จ.สงขลา 90170
เบอร์โทร 096-9045426
จบมาจาก วิทยาลัยเทคโนโลยีส่องแสงพณิชยการ
สาขา การบัญชี
มาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกกรม
สาขา เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
สัตว์เลี้ยงที่ชอบ สุนัข นก
Facebook: Nichapat Phetwong
Line: amza_39
IG: ammi_nichapat
คติประจำใจ ทำวันนี้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าวันพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไร

สมาชิกการจัดาร60ห้องB

สมาชิกในห้องเรียน     อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค                        อาจารย์ปาล์ม 1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร                    ไฟท์...