วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีการสื่อสาร

เรื่อง : การสื่อสารทางแสงแบบไร้สาย (Free Space Optics (FSO)



         Free Space Optical Networking หรือ FSO เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารทางแสงแบบไร้สาย ที่จะทำการส่งและรับข้อมูลอัตราเร็วสูง ผ่านทางสัญญาณแสงโดยใช้ที่ว่างในอากาศเป็นตัวกลาง การเชื่อมโยงในอากาศจะคล้ายกับระบบสื่อสารทางเส้นใยนำแสง(fiber) เพียงแต่แทนที่จะโฟกัสลำแสงที่ออกมาจาก semiconductor laser (light amplification by stimulated emission of radiation) หรือ LED (light emitting diode) เข้าไปยังเส้นใยนำแสง ก็จะทำการส่งลำแสงเล็กๆ นี้ ผ่านอากาศไปยังเครื่องรับที่อยู่อีกด้านหนึ่งแทน ที่น่าสนใจก็คือ คลื่นแสงจะเดินทางในอากาศได้เร็วกว่าในแก้ว ดังนั้นจึงอาจจัดประเภทของ FSO ว่าเป็นการสื่อสารทางแสงด้วยอัตราเร็วแสงอย่างแท้จริง อุปกรณ์ FSO นี้จะใช้คลื่นแสงที่อยู่ในช่วงความยาวคลื่นระหว่าง 780-900 nm และ 1500-1600 nm ผู้ขาย FSO ส่วนใหญ่จะไม่ใช้ช่วงความยาวคลื่น 1300 nm เหมือนอย่างในเส้นใยนำแสง เป็นเพราะว่าคลื่นแสงในช่วงนี้เมื่อผ่านอากาศจะมีคุณภาพที่ต่ำกว่ามาก การเชื่อมโยงของ FSO นั้น จะใช้อุปกรณ์รับส่งสัญญาณ(transceiver) 2 ตัว ที่เล็งลำแสงของบีมเลเซอร์เข้าหากัน การสื่อสารนั้นจะมีลักษณะเป็นแบบ full duplex คือมีแบนด์วิดท์ของการส่งและการรับเท่ากัน ใน 2 ทิศทาง

ข้อดี
1. ช่วงการส่งสัญญาณกว้าง
2. ไม่มีการเหนี่ยวนำจากเคลื่อนแม่เหล็ก
3. อัตราการสูญเสียในการรับ - ส่งสัญญาณ
4. เพิ่มระยะห่างของสถานีทวนสัญญาณ
5. จำนวนของสัญญาณในการรับ - ส่ง

ข้อเสีย
1. เส้นใยแก้วนำแสงเปราะบางและแตกง่าย
2. ไม่สามารถโค้งงอเหมือนสายทองแดง
3. ในการติดตั้งต้องใช้เครื่องมือพิเศษ

ผลกระทบ
ต่อระบบเชื่อมโยง FSO          ระบบ FSO แตกต่างจากระบบสื่อสัญญาณทาง fiber ตรงที่ตัวกลางที่ใช้สำหรับการส่งสัญญาณ ถ้าเป็น FSO จะต้องส่งผ่านอากาศเปิดภายนอก ทำให้อาจได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิศาสตร์ที่เกิดขึ้นภายนอกได้ ดังนั้นเครือข่ายต้องถูกออกแบบให้สามารถต้านทานต่อสิ่งรบกวนที่เกิดขึ้นเหล่านี้ และเนื่องจากระบบ FSO เป็นเทคโนโลยีแบบ line-of-sight ดังนั้นการเชื่อมโยงจะต้องถูกออกแบบไม่ให้มีอะไรมากีดขวางหรือขัดจังหวะบีมของลำแสง

วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

วิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 ระบบประมวลผล
บทที่ 5 เครื่องจักรกล NC
บทที่ 6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
บทที่ 7 ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 9 PLC / PC
บทที่ 10 คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-นามสกุล นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงค์
ชื่อเล่น แอม
รหัสนักศึกษา 606705059
อายุ 21 ปี
วัน เดือน ปีเกิด 28 กุมภาพันธ์ 2539
ที่อยู่ 6/15 ม.5 ต.เขามีเกียรติ อ.สะเดา จ.สงขลา 90170
เบอร์โทร 096-9045426
จบมาจาก วิทยาลัยเทคโนโลยีส่องแสงพณิชยการ
สาขา การบัญชี
มาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกกรม
สาขา เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
สัตว์เลี้ยงที่ชอบ สุนัข นก
Facebook: Nichapat Phetwong
Line: amza_39
IG: ammi_nichapat
คติประจำใจ ทำวันนี้ให้ดีที่สุด ไม่ว่าวันพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไร

สมาชิกการจัดาร60ห้องB

สมาชิกในห้องเรียน     อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค                        อาจารย์ปาล์ม 1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร                    ไฟท์...